www.northmbk.ac.th/wijai/อ.ผ่องอำไพ.docx http://www.northmbk.ac.th/wijai/อ.ผ่องอำไพ.docx
office.cpu.ac.twww.acr.ac.th/acr/Wijaii/wijai/34.doc
www.acr.ac.th/acr/Wijaii/wijai/34.doch/bba1/file/10-buscom.docoffice.cpu.ac.th/bba1/file/10-buscom.doc
natnareesweet
วันพุธที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2555
วันจันทร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2555
บทที่ 10 กฏหมายและความปลอดภัยบนอินเตอร์เน็ต
ในโลกยุคปัจจุบัน คือ สังคมของสารสนเทศซึ่งสามารถสื่อสารข้อมูลข่าวสารได้อย่างอิสระโดยมีระบบเครื่อข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นสื่อกลางในการสื่อสาร ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมีการพัฒนาแบบไม่หยุดยั้ง ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีกฏหมายมารองรับในการดำเนินงานด้านธุรกรรมต่าง ๆ เพื่อความถูกต้อง เช่น
1. กฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้มีการยกร่างกฏหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งหมด 6 ฉบับ คือ
1. กฏหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law)
2. กฏหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
3. กฏหมายอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)
4. กฏหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer Law)
5. กฏหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law)
6. กฏหมายลำดับรองของรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ว่าด้วยการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกัน (Universal Access Law)
2. มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
ได้จัดแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
1. มาตรการด้านเทคโนโลยี
2. มาตรการด้านกฏหมาย
3. มาตรการด้านความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
4. มาตรการทางสังคม
1.กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยเริ่มวันที่ 15 ธันวาคม 2541 โดยคณะ กรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติเรียก (กทสช) ได้ทำการศึกษาและยกร่างกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ฉบับ ได้แก่
1. กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law)
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะจัดทำขึ้นในรูปแบบของหนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่จัดทำขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอดทั้งการลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และการรับฟังพยานหลักฐานที่อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความเชื่อมั่นมากขึ้นในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกำหนดให้มีการกำกับดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้ บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน (National Information Infrastructure Law)
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ อันได้แก่ โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสำคัญอื่น ๆ อันเป็นปัจจัยพื้นฐาน สำคัญในการพัฒนาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์สำคัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน และนับเป็นกลไกสำคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล้ำของสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และนำไปสู่สังคมแห่งปัญญา และการเรียนรู้
4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law)
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคคลจำนวนมากได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการนำข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขั้นพื้นฐานในความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ 5. กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)
เพื่อกำหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทำผิดต่อระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม
6. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law)
เพื่อกำหนดกลไกสำคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน และระบบการชำระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นต่อระบบการทำธุรกรรมทางการเงิน และการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น
1. กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law)
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะจัดทำขึ้นในรูปแบบของหนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่จัดทำขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอดทั้งการลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และการรับฟังพยานหลักฐานที่อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความเชื่อมั่นมากขึ้นในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกำหนดให้มีการกำกับดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้ บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน (National Information Infrastructure Law)
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ อันได้แก่ โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสำคัญอื่น ๆ อันเป็นปัจจัยพื้นฐาน สำคัญในการพัฒนาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์สำคัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน และนับเป็นกลไกสำคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล้ำของสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และนำไปสู่สังคมแห่งปัญญา และการเรียนรู้
4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law)
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคคลจำนวนมากได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการนำข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขั้นพื้นฐานในความเป็นส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความมั่นคงของรัฐ 5. กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)
เพื่อกำหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทำผิดต่อระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม
6. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law)
เพื่อกำหนดกลไกสำคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน และระบบการชำระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นต่อระบบการทำธุรกรรมทางการเงิน และการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น
2.มาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
มาตรการด้านเทคโนโลยี
เป็นการต่อต้านอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยผู้ใช้สามารถใช้หรือติดตั้งเทคโนโลยีต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ การติดตั้ง
ระบบการตรวจจับการบุกรุก (Intrusion Detection) หรือการติดตั้งกำแพงไฟ (Firewall) เพื่อป้องกันหรือรักษาคอมพิวเตอร์
ของตนให้มีความ ปลอดภัย ซึ่งนอกเหนือจากการติดตั้งเทคโนโลยีแล้วการตรวจสอบเพื่อประเมินความเสี่ยง อาทิ การจัดให้มีระบบ
วิเคราะห์ความเสี่ยงและการให้การรับรอง (Analysis Risk and Security Certification) รวมทั้งวินัยของ ผู้ปฏิบัติงาน
ก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องได้รับการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและสม่ำเสมอ มิเช่นนั้นการติดตั้งเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพเพื่อใช้ในการป้องกัน
ปัญหาดังกล่าวก็ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แต่อย่างใด
มาตรการด้านกฎหมาย
มาตรการด้านกฎหมายเป็นนโยบายของรัฐบาลไทยประการหนึ่งที่นำมาใช้ในการต่อต้านอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ โดยการ
บัญญัติหรือตรากฎหมายเพื่อกำหนดว่าการกระทำใดบ้างที่มีโทษทางอาญา ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายฉบับ
ดังนี้
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ หรือร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. …. ซึ่งขณะนี้
เป็นกฎหมายหนึ่งในหกฉบับที่อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
มาตรการด้านเทคโนโลยี
เป็นการต่อต้านอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยผู้ใช้สามารถใช้หรือติดตั้งเทคโนโลยีต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ การติดตั้ง
ระบบการตรวจจับการบุกรุก (Intrusion Detection) หรือการติดตั้งกำแพงไฟ (Firewall) เพื่อป้องกันหรือรักษาคอมพิวเตอร์
ของตนให้มีความ ปลอดภัย ซึ่งนอกเหนือจากการติดตั้งเทคโนโลยีแล้วการตรวจสอบเพื่อประเมินความเสี่ยง อาทิ การจัดให้มีระบบ
วิเคราะห์ความเสี่ยงและการให้การรับรอง (Analysis Risk and Security Certification) รวมทั้งวินัยของ ผู้ปฏิบัติงาน
ก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องได้รับการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและสม่ำเสมอ มิเช่นนั้นการติดตั้งเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพเพื่อใช้ในการป้องกัน
ปัญหาดังกล่าวก็ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แต่อย่างใด
มาตรการด้านกฎหมาย
มาตรการด้านกฎหมายเป็นนโยบายของรัฐบาลไทยประการหนึ่งที่นำมาใช้ในการต่อต้านอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ โดยการ
บัญญัติหรือตรากฎหมายเพื่อกำหนดว่าการกระทำใดบ้างที่มีโทษทางอาญา ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายฉบับ
ดังนี้
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ หรือร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. …. ซึ่งขณะนี้
เป็นกฎหมายหนึ่งในหกฉบับที่อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
3.ภัยร้ายบนอินเทอร์เน็ต
ปัจจุบันนี้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่ทั้งบุคคลทั่วไปและในองค์กรต่างยอมรับว่า ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีความสำคัญและจำเป็นในชีวิตประจำวัน และดำเนินธุรกิจ ปัญหาซ้ำซากที่กลุ่มผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตประสบพบเจอกันเป็นประจำในระหว่างการใช้งานคงหนีไม่พ้นมหกรรมภัยร้ายต่างๆ ที่มุ่งเข้าถล่มเครื่องคอมพิวเตอร์ เริ่มตั้งแต่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์อืดลง เข้าเว็บไซต์ที่ต้องการไม่ได้ ถูกโจรกรรมข้อมูลไปจนถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกทำลาย
ทางเนคเทคได้ให้ข้อมูลว่า ขณะนี้ ภัยคุกคามบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทวีความซับซ้อนและรุนแรงมากขึ้น โดยข้อมูลจากรายงานผลการสำรวจกลุ่มผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่า ปัญหาเกี่ยวกับภัยคุกคามโดยเฉพาะไวรัสเป็นปัญหาสำคัญที่สุด รองลงมาจึงเป็นปัญหาความล่าช้าในการติดต่อและสื่อสาร
ทุกวินาทีภัยคุกคามบนเครือข่ายมีมากมายสังเกตได้จากสถิติของหลายสำนัก เช่น ศูนย์ประสานงานการรักษาความปลอด ภัยคอมพิวเตอร์ประเทศไทย หรือ ThaiCERT และบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์แอนตี้ไวรัสที่ได้วิเคราะห์แนวโน้มภัยคุกคามต่างๆ ออกมาใกล้เคียงกัน นั่นคือ จากนี้ไปผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจะพบกับรูปแบบการโจมตีที่หลากหลายด้วยการใช้กลอุบายหลอก ลวงต่างๆ เพื่อหวังผลที่ได้แตกต่างกัน
ส่วนวิธีรักษาความปลอดภัยบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้มีผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ แนะนำว่า ในเบื้องต้นผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและผู้ดูแลระบบเครือข่ายต้องทำความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหาภัยคุกคามต่างๆ เพื่อจะได้วางแผนป้องกันได้ตรงกับปัญหาอัน จะนำมาสู่ความปลอดภัย และทำให้เครือข่ายมีความเสถียรเพิ่มมากขึ้น
ทางเนคเทคได้ให้ข้อมูลว่า ขณะนี้ ภัยคุกคามบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทวีความซับซ้อนและรุนแรงมากขึ้น โดยข้อมูลจากรายงานผลการสำรวจกลุ่มผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่า ปัญหาเกี่ยวกับภัยคุกคามโดยเฉพาะไวรัสเป็นปัญหาสำคัญที่สุด รองลงมาจึงเป็นปัญหาความล่าช้าในการติดต่อและสื่อสาร
ทุกวินาทีภัยคุกคามบนเครือข่ายมีมากมายสังเกตได้จากสถิติของหลายสำนัก เช่น ศูนย์ประสานงานการรักษาความปลอด ภัยคอมพิวเตอร์ประเทศไทย หรือ ThaiCERT และบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์แอนตี้ไวรัสที่ได้วิเคราะห์แนวโน้มภัยคุกคามต่างๆ ออกมาใกล้เคียงกัน นั่นคือ จากนี้ไปผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจะพบกับรูปแบบการโจมตีที่หลากหลายด้วยการใช้กลอุบายหลอก ลวงต่างๆ เพื่อหวังผลที่ได้แตกต่างกัน
ส่วนวิธีรักษาความปลอดภัยบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้มีผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ แนะนำว่า ในเบื้องต้นผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและผู้ดูแลระบบเครือข่ายต้องทำความเข้าใจและวิเคราะห์ปัญหาภัยคุกคามต่างๆ เพื่อจะได้วางแผนป้องกันได้ตรงกับปัญหาอัน จะนำมาสู่ความปลอดภัย และทำให้เครือข่ายมีความเสถียรเพิ่มมากขึ้น
4.อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ
1.การกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ อันทำให้เหยื่อได้รับ
ความเสียหาย และผู้กระทำได้รับผลประโยชน์ตอบแทน
2.การกระทำผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
และในการสืบสวนสอบสวนของเจ้าหน้าที่เพื่อนำผู้กระทำผิดมาดำเนินคดี
ต้องใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีเช่นเดียวกัน
การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหาย
ต่อเศรษฐกิจของประเทศจำนวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทางธุรกิจรูปแบบ
หนึ่งที่มีความสำคัญ
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)
2. พวกวิกลจริต (Deranged persons)
3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทำผิด (Organized crime)
4. อาชญากรอาชีพ (Career)
5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)
6. พวกคลั่งลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)
7. ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker )
5.บัญญติ 10 ประการ ด้านความปลอดภัยของอินเทอร์เน็ต
บัญญติ 10 ประการ ด้านความปลอดภัยของอินเทอร์เน็ต
- ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือ ละเมิดผู้อื่น
- ต้องไม่รบกวนการทำงานของผูอื่น
- ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือ เปิดดูแฟ้มข้อมูลของผูอื่น
- ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
- ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
- ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
- ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
- ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
- ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม ที่เกิดจากการกระทำของท่าน
- ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)