วันพุธที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2554

3.ประเภทของอีเมล์

       อี-เมล์ (E-mail) ย่อมาจาก Electronic mail (แปลว่า ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์) หมายถึงการสื่อสารหรือการส่งข้อความ โน้ต หรือบันทึกออกจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ผ่านไปเข้าเครื่องปลายทาง (Terminal) หรือเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งโดยส่งผ่านทางระบบเครือข่าย (Network) ผู้ส่งจะต้องมีเลขที่อยู่ (E-mail address) ของผู้รับ และผู้รับก็สามารถเปิดคอมพิวเตอร์เรียกข่าวสารนั้นออกมาดูเมื่อใดก็ได้ โดยปกติ จะไม่มีการพิมพ์ข้อความหรือข่าวสารนั้นลงแผ่นกระดาษ นับว่าเป็นการประหยัดกระดาษไปได้ส่วนหนึ่ง โดยทั่วไป ถือกันว่าเป็นงานส่วนหนึ่งของสานักงานอัตโนมัติ (Office automation) ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอันมาก
E-mail คือ จดหมาย ที่ใช้รับส่งกันโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บางแห่งใช้เฉพาะภายใน บางแห่งใช้เฉพาะภายนอกองค์กร (สาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกคือ Internet) การใช้งานก็เหมือนกับเราพิมพ์ข้อความในโปรแกรม Word จากนั้นก็คลิกคาสั่ง เพื่อส่งออกไป โดยจะมีชื่อของผู้รับ ซึ่งเราเรียกว่า Email Address เป็นหลักในการรับส่ง

ประเภทของ e-mail

e-mail มี  3  ประเภท  คือ

1. POP  (Post Office Protocol Version)
POP จะมีการทำงานในแบบที่เรียกว่า Offline Model กล่าวคือเวลาทำงาน E-mail Client จะเชื่อมต่อกับ Mail Server จากนั้นจะ Download และลบ E-mail ออกจาก Server หรือ Download เพียงอย่างเดียวแล้วทิ้ง E-mail ไว้บน Server ภายหลังจากที่ E-mail ถูก Download มาที่เครื่อง Client เรียบร้อยแล้ว Client จะตัดการเชื่อมต่อออกจาก Server หลังจากนั้น E-mail จะถูก Process ที่เครื่อง Client ทั้งหมด ข้อได้เปรียบของการทำงานแบบนี้ก็คือ Client แต่ละเครื่องใช้เวลาในการเชื่อมต่อกับเครื่อง Mail Server น้อยมากอีกทั้งยังต้องการเนื้อที่เก็บ E-mail บน Server น้อยด้วยเช่นกัน แต่ข้อเสียก็คือไม่สามารถอ่าน E-mail จาก Client เครื่องอื่นได้อีกหากว่าเรา Set ให้ลบ Mail บน Server หลังจาก Download เสร็จ หรือ ไม่สามารถบอกได้ว่า Mail ฉบับไหนเคยอ่านไปแล้วบ้าง หากเรา Set ค่าแบบ ให้ทิ้ง E-mail ไว้บน Server อีกประการหนึ่งคือเครื่อง Client จะต้องมีประสิทธิภาพสูงเนื่องจากเป็นผู้ Process E-mail ด้วยตนเอง


2. IMAP  (Internet Message Access Protocol Version)
IMAP จะมีการทำงานในแบบที่เรียกว่า Online Model ผสานกับ Disconnected Model กล่าวคือ การจัดการและการ Process E-mail ทั้งหมดจะถูกจัดการที่ Server เพียงอย่างเดียว Client มีหน้าที่เพียงแค่อ่าน E-mail หรือส่งคำสั่งไป Process E-mail บน Server เท่านั้น แบบนี้มีข้อดีก็คือท่านสามารถอ่าน E-mail จากที่ใดก็ได้ เนื่องจาก E-mail จะถูกเก็บอยู่ใน Server เสมอ และจะมีสถานะบอกด้วยว่า E-mail ฉบับใดมาใหม่ ฉบับใดมีการอ่านหรือตอบกลับไปแล้ว แต่ข้อเสียก็คือ Server จะต้องเป็นเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูง และในระหว่างการอ่านหรือ Process E-mail เครื่อง Client จะต้องเชื่อมต่อกับ Server ตลอดเวลา ดังนั้นจึงทำงานได้ช้ากว่าแบบ POP


3. WEB Based
Web Base Mail เช่น อีเมล์ของ hotmail.com, chaiyo.com ซึ่งหากต้องการใช้งานอีเมล์เหล่านี้ จะต้องใช้งานโดยผ่านทางเว็บบราวเซอร์ เช่น Internet Explorer, Firefox ก็สามารถเข้าเช็คอีเมล์หรือเขียนอีเมล์ได้อย่างสะดวก ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเสมอไป เพราะโปรแกรมอีเมล์ดังกล่าวได้ถูกสร้างขึ้นด้วยเทคโนโลยี Web-based Application ที่ใช้โปรแกรมเว็บบราวเซฮร์เป็นเครื่องมือในการเปิดโปรแกรมใช้งาน จึงทำให้โปรแกรมอีเมล์สามารถทำงานได้เหมือนกับการเข้าไปดูเว็บไซต์ทั่วไป

4.ขั้นตอนการขอใช้บริการอีเมล์

ขั้นตอนการขอใช้บริการ
  1. ทำการของบัญชีผู้ใช้งานที่สำหนักคอมพิวเตอร์(ระบบจะทำการสร้างบัญชีผู้ใช้งานจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ที่ ๆ ต้นชั่วโมง ดังนั้น ถ้าขอบัญชีตอน 11:05 จะสามารถใช้งานได้ในเวลาประมาณ 12:10 เป็นต้น)
  2. ทำการเปลี่ยนรหัสผ่าน โดยใช้บัญชีผู้ใช้งานของสำนักคอมพิวเตอร์
    1. ทำการเปลี่ยนได้ที่ http://mail.buu.ac.th/ChangePasswd.aspxx
    2. ทำการเปลี่ยนได้ที่เครื่องที่สำนักคอมพิวเตอร์ให้บริการโดยการกด Ctrl + Alt + Del แล้วเลือก Change Password
  3. เมื่อทำการเปลี่ยนรหัสผ่านแล้วจะสามารถใช้งานได้ที่ WindowsLive
    • โดยอีเมล์จะเป็น  รหัสนิสิต@live.buu.ac.th
    • รหัสผ่านจะเป็น   รหัสผ่านที่นิสิตกำหนดขึ้นมา
  4. สามารถดูเอกสารประกอบได้ ที่นี่
LAST_UPDATED2
 
ขั้นตอนการขอใช้บริการ
  1. ทำการของบัญชีผู้ใช้งานที่สำหนักคอมพิวเตอร์(ระบบจะทำการสร้างบัญชีผู้ใช้งานจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ที่ ๆ ต้นชั่วโมง ดังนั้น ถ้าขอบัญชีตอน 11:05 จะสามารถใช้งานได้ในเวลาประมาณ 12:10 เป็นต้น)
  2. ทำการเปลี่ยนรหัสผ่าน โดยใช้บัญชีผู้ใช้งานของสำนักคอมพิวเตอร์
    1. ทำการเปลี่ยนได้ที่ http://mail.buu.ac.th/ChangePasswd.aspxx
    2. ทำการเปลี่ยนได้ที่เครื่องที่สำนักคอมพิวเตอร์ให้บริการโดยการกด Ctrl + Alt + Del แล้วเลือก Change Password
  3. เมื่อทำการเปลี่ยนรหัสผ่านแล้วจะสามารถใช้งานได้ที่ WindowsLive
    • โดยอีเมล์จะเป็น  รหัสนิสิต@live.buu.ac.th
    • รหัสผ่านจะเป็น   รหัสผ่านที่นิสิตกำหนดขึ้นมา

ขั้นตอนการขอใช้บริการ
  1. ทำการของบัญชีผู้ใช้งานที่สำหนักคอมพิวเตอร์(ระบบจะทำการสร้างบัญชีผู้ใช้งานจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ที่ ๆ ต้นชั่วโมง ดังนั้น ถ้าขอบัญชีตอน 11:05 จะสามารถใช้งานได้ในเวลาประมาณ 12:10 เป็นต้น)
  2. ทำการเปลี่ยนรหัสผ่าน โดยใช้บัญชีผู้ใช้งานของสำนักคอมพิวเตอร์
    1. ทำการเปลี่ยนได้ที่ http://mail.buu.ac.th/ChangePasswd.aspxx
    2. ทำการเปลี่ยนได้ที่เครื่องที่สำนักคอมพิวเตอร์ให้บริการโดยการกด Ctrl + Alt + Del แล้วเลือก Change Password
  3. เมื่อทำการเปลี่ยนรหัสผ่านแล้วจะสามารถใช้งานได้ที่ WindowsLive
    • โดยอีเมล์จะเป็น  รหัสนิสิต@live.buu.ac.th
    • รหัสผ่านจะเป็น   รหัสผ่านที่นิสิตกำหนดขึ้นมา
  4. สามารถดูเอกสารประกอบได้ ที่นี่
LAST_UPDATED2
    4.สามารถดูเอกสารประกอบได้ ที่นี่
  1. สามารถดูเอกสารประกอบได้ ที่นี่
LAST_UPDATED2
 
ลิขสิทธิ์ © ๒๕๕๔ Student Mail@BUU. สงวนไว้ซึ่งสิทธิทั้งหมด.
Joomla! เป็นซอฟท์แวร์เสรีภายใต้ลิขสิทธิ์ GNU/GPL License.
เว็บนี้ขับเคลื่อนด้วย จูมล่าลายไทย

 

5.การเขียนและการส่งจดหมาย

วิธีการเขียนและส่งจดหมาย
  1. คลิ๊ก Compose บนแถบเมนูหลัก.
  2. กรองชื่ออีเมล์ของผู้รับในช่อง To . ต้องกรองอีเมล์อย่างน้อย1ชื่อในช่อง.
  3. (ข้อกำหนดเพิ่มเติม)  กรอกชื่ออีเมล์ของผู้รับท่านอื่นเพิ่มเติมในช่อง Cc และ Bcc .  (อะไรคือ Cc และ Bcc?)
  4. (ข้อกำหนดเพิ่มเติม)  กรอกชื่อหัวข้อจดหมายในช่อง Subject .
  5. เขียนข้อความจดหมายของคุณลงในช่องขนาดใหญ่.
  6. คลิ๊ก Send Message เมื่อคุณเสร็จสิ้นการเขียนข้อความของคุณ. ข้อความยืนยันการส่งจะแสดงขึ้นมาหลังจากจดหมายได้ถูกส่งออกเรียบร้อยแล้ว.
วิธีการส่งไฟล์แนบจดหมาย
  1. การเขียนจดหมายใหม่. (วิธีการเขียนและส่งจดหมาย)
  2. กรอกที่ตั้งพร้อมชื่อไฟล์ที่ต้องการจะแนบในช่อง Attach .

    หากคุณไม่ทราบที่ตั้งของไฟล์. ให้คลิ๊กปุ่ม Browse ซึ่งอยู่ถัดจากช่อง Attach . หน้าต่างวินโดว์จะแสดงขึ้นมาเพื่อให้ค้นหา.
    • เปิดช่องเอกสารซึ่งบรรจุแฟ้มที่คุณจะแนบ.  กดบนแฟ้ม.  ชื่อของแฟ้มจะปรากฏโดยอัตโนมัติในช่อง File name .
    • คลิ๊ก Open.  หน้าต่างวินโดว์จะปิดลงไปและชื่อไฟล์ที่จะแนบจะแสดงขึ้นในช่อง Attach .
  3. คลิ๊ก Send Message.
*บันทึก: สามารถแนบไฟล์ขนาดใดก็ได้. อย่างไรก็ตาม, พื้นที่เก็บจดหมายของคุณจะจำกัดอยู่ที่ 6MB.  จดหมายที่ถูกส่งออกทั้งหมดจะถูกเก็บอยู่ในช่องเอกสารส่ง.  การแนบไฟล์ใหญ่ๆอาจจะทำให้พื้นที่ในช่องเอกสารส่งจดหมายของคุณไม่เพียงพอ.  คุณสามารถเลือกที่จะไม่เก็บรักษาจดหมายส่งออกได้โดยการตั้งค่าการใช้งาน.

6.องค์ประกอบภายในกล่องจดหมาย

หน้ากล่องจดหมาย ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชั่นมากมาย มีองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้
  เมนูด้านซ้าย: กดลิงค์ กล่องจดหมายที่เมนูด้านซ้าย เมนูด้านซ้ายนี้เป็นส่วนที่เป็นโครงสร้างของบัญชีในการจัดเก็บข้อมูล นอกจากกล่องจดหมาย แล้วยังมีกลุ่มของจดหมายดังนี้
o   ติดดาว: คือรายการจดหมายที่เลือกให้ติดดาวไว้เพื่อจัดแยกหมวดหมู่ของจดหมาย
o   การแชท: คือรายการการสนทนาผ่าน Google Talk ที่ผ่านมาแล้ว
o   จดหมายที่ส่งแล้ว: คือรายการจดหมายที่ถูกส่งออกไปแล้ว
o   ร่างจดหมาย: คือรายการจดหมายที่เขียนและบันทึกเป็นร่างจดหมายไว้
o   จดหมายทั้งหมด: คือรายการจดหมายทั้งหมดรวมทั้งที่เก็บลงฐานข้อมูล(Archive)ไว้ด้วย
o   จดหมายขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกตรวจสอบจากระบบว่าเป็น SPAM
o   ถังขยะ: คือรายการจดหมายที่ถูกลบ
·         การค้นหา: แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้
o   ค้นหาจดหมาย: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาจดหมายได้โดยใส่ข้อความที่เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้วกดปุ่ม ค้นหาจดหมาย
o   ค้นหาในเว็บ: สามารถใช้ฟังก์ชั่นเพื่อค้นหาข้อมูลในเว็บได้โดยใส่ข้อความที่เฉพาะเจาะจงในการค้นหาแล้วกดปุ่ม ค้นหาในเว็บ

7.การอ่านจดหมาย

การอ่านจดหมาย
เมนู INBOX
    หน้าจอแรกที่ปรากฏคือ INBOX เป็นส่วนที่แสดงรายการจดหมายที่ได้รับ หากหน้าจอของท่านไม่แสดง INBOX ท่านสามารถเปิดหน้าต่างของ INBOX โดยคลิกที่ มุมบนซ้ายของหน้าต่าง


<><><>
สัญลักษณ์ใน inbox
Date แสดงวันที่ที่ส่งจดหมาย
From แสดงชื่อผู้ส่งจดหมาย
Subject แสดงหัวเรื่องของจดหมาย
Size แสดงขนาดของจดหมาย
หมายถึง จดหมายที่ตอบแล้ว
หมายถึึง จดหมายที่ยังไม่ได้อ่าน
หมายถึง มีแฟ้มข้อมูลส่งมากับจดหมายด้วย
หมายถึง ช่องระบุความต้องการเลือกจดหมายฉบับนั้น

- หากต้องการอ่านจดหมายฉบับใดให้คลิกที่ชื่อผู้ส่งหรือหัวเรื่องของจดหมายฉบับนั้น
- หากต้องการอ่านจดหมายฉบับถัดไปให้คลิกเครื่องหมาย >
 -หากต้องการอ่านจดหมายฉบับก่อนหน้าให้คลิกเครื่องหมาย
- กรณีจดหมายนั้นมีไฟล์แนบมากับจดหมายด้วย สามารถแยกไฟล์ออกจากจดหมายที่ส่งมาได้
- จดหมายที่มีไฟล์ส่งมาด้วยจะปรากฏสัญลักษณ์ รูป disket พร้อมชื่อไฟล์ที่ส่งมา
- การเก็บไฟล์ออกจากจดหมายให้คลิกที่สัญลักษณ์ รูป disket
- คลิก OK เพื่อบันทึกไฟล์ลงในไดเรกทอรีที่ต้องการ

8.การตอบจดหมายกลับ

ขั้นตอนการตอบกลับจดหมาย
1. ในช่อง To: ป้อนชื่ออีเมล์ (E-Mail) ของผู้ที่เราจะส่งไปหา
2. ในช่อง Subject: เป็นหัวข้อเรื่อง
3. ในช่อง Cc: เป็นชื่ออีเมล์ (E-Mail) ของผู้ที่เราจะส่งไปหาในกรณีที่ต้องการส่งไปถึงคนที่ 2, 3 ไม่ต้องใส่ก็ได้
4. ในช่อง Bcc: เป็นชื่ออีเมล์ (E-Mail) ของผู้ที่เราจะส่งไปหาในกรณีที่ต้องการส่งไปถึงคนที่ 2, 3 และไม่ ต้องการให้ผู้รับทราบว่าเราส่งไปถึงใครบ้าง ไม่ต้องใส่ก็ได้
5. ส่วนของ Attachments: ในกรณีที่ต้องการส่งแฟ้มข้อมูลแนบไปด้วยกับจดหมาย
6. เราสามารถพิมพ์เนื้อหาของจดหมายในส่วนของ Message Box ได้เลย
7. เมื่อพิมพ์จดหมายและป้อนข้อมูลต่าง ๆ ครบแล้วก็คลิกเมาส์ (Mouse) ที่ปุ่ม Send เพื่อส่งจดหมายหลังจากคลิกที่ปุ่ม Send เพื่อส่งจดหมายแล้ว จะปรากฎหน้าจอ ซึ่งสามารถจัดเก็บชื่ออีเมล์ (E-Mail) ของผู้ที่เราส่งจดหมายไปหา หากไม่จัดเก็บก็คลิก ปุ่ม Inbox เพื่อกลับไปยังกล่องจดหมาย หรือถ้าต้องการเขียนจดหมายฉบับใหม่ก็สามารถคลิกที่ปุ่ม Compose ได้เลย

9.การส่งต่อจดหมาย

ท่านสามารถส่งต่อจดหมายที่ท่านได้รับไปให้บุคคลอื่นได้ โดยสามารถทำได้ 2 แบบ ได้แก่
  • ส่งต่อจดหมายแบบ Redirect หมายถึง การส่งต่อจดหมายโดยคงชื่อผู้ส่งเดิมไว้
  • ส่งต่อจดหมายแบบ Forward หมาย ถึง การส่งต่อจดหมายโดยใช้ชื่อผู้ส่งต่อ เนื้อหาของจดหมายที่ส่งต่อสามารถถูกดัดแปลง แก้ไข เพิ่มเติม หรือถูกลบออกโดยผู้ส่งต่อได้
5.1 ส่งต่อจดหมายแบบ Redirect ( จดหมายที่คงชื่อผู้ส่งจดหมายคนเดิม)
5.1.1 คลิกที่ Redirect
5.1.2 พิมพ์ที่อยู่อีเมลของผู้รับ
5.1.3 คลิกที่ Send Message เพื่อส่งจดหมาย
5.2 การส่งจดหมายแบบ Forward (ชื่อผู้ส่งต่อจดหมายเป็นชื่อผู้ส่งจดหมาย)
5.2.1 คลิกที่ Forward
5.2.2 พิมพ์ชื่อที่อยู่อีเมลของผู้รับ ผู้ส่งสามารถเพิ่มเติมข้อความหรือ
ลบข้อความตามที่ต้องการก่อนส่งต่อจดหมายได้
5.2.3 คลิกที่ Send Message เพื่อส่งจดหมาย

10.การลบจดหมาย

     เมื่อท่านใช้บริการรับส่งจดหมาย e-Mail มาถึงระดับหนึ่ง จดหมายจะเต็มกล่องเก็บจดหมาย เมื่อจดหมายเต็มกล่องเก็บแล้วจะส่งผลให้โปรแกรม  Mail ไม่ทำงาน การจัดการลบจดหมายจึงเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่ง ขั้นตอนการลบจดหมายมีดังนี้

ขั้นตอน
1. คลิกที่ Inbox เมื่อคลิกแล้วจะได้กรอบ Inbox ดังภาพ

2. จากนั้นคลิกเครื่องหมายถูกที่กรอบสี่เหลี่ยม ดังภาพ แล้วคลิกปุ่ม Delete ตามลำดับ

3.จดหมายก็จะถูกลบออกจากกล่อง Inbox จดหมายที่ถูกลบออกไปจะถูกนำไปเก็บที่ Trash Can และจะถูกลบโดยอัตโนมัติต่อไป นั้นหมายความว่าหากท่านลบจดหมายผิด ท่านยังสามารถกู้จดหมาย จากกล่อง Trash Can นี้ได้ โดยการ คลิกที่ Trash Can แล้วคลิกเครื่องหมายถูกในกรอบสี่เหลี่ยมหน้าจดหมายที่ต้องการกู้ จากนั้นมาคลิกที่เมนู Recover to Folder แล้วเลือกกล่องจดหมายที่ต้องการกู้ไปเก็บไว้ ดังภาพ

11.การกู้จดหมายกลับคืน

โดยทั่วไป คุณสามารถกู้คืนกล่องจดหมายที่ลบได้ ถ้ากล่องจดหมายนั้นถูกลบในระยะเวลาไม่เกิน 30 วันที่ผ่านมา สำหรับคำอธิบายเมื่อกล่องจดหมายที่ถูกลบไม่สามารถกู้คืนได้ โปรดดูที่ กล่องจดหมายที่ลบ
คุณสามารถกู้คืนกล่องจดหมายที่ถูกลบในแผงควบคุม Exchange สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดูที่ การกู้คืนกล่องจดหมายที่ถูกลบ อย่างไรก็ตาม คุณสามารถใช้ Windows PowerShell หากคุณต้องการ ตัวเลือกของคุณมีดังนี้

วันพุธที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บทที่ 5 เครือข่ายใยแมงมุม


เครือข่ายใยแมงมุม (World wide Web หรือ W3 หรือ WWW) เรียกสั้น ๆ ว่า เว็บ (Web) เป็นรูปแบบหนึ่งของระบบ การเชื่อมโยงเครือข่ายข่าวสาร ใช้ในการค้นหาข้อมูลข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต มีการเชื่อมโยงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหนึ่งไปยังอีกแหล่งข้อมูลที่อยู่ห่างไกล เพื่อให้มีความง่ายต่อการใช้งานมากที่สุด
WWW จะแสดงผล ในรูปแบบของเอกสารที่ เรียกว่า ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext ) ซึ่งเป็นฐานข้อมูลชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่รวบรวมข่าวสาร ข้อมูลที่อยู่กระจัดกระจาย ไปในที่ต่าง ๆ ทั่วโลก ให้สามารถนำมาใช้งานได้ เสมือนอยู่ในที่เดียวกัน คล้ายกับเส้นใยแมงมุม ที่ถักทอเส้นสาย เชื่อมโยงแหล่งข้อมูลกันไปมา
การให้บริการของอินเทอร์เน็ต แบบ WWW เป็นระบบงาน ที่ทรงพลังมากในยุคปัจจุบัน ทำให้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลกอย่างแท้จริง เนื่องจากสามารถให้บริการข้อมูลได้ทั้งในแบบข้อความ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ทำให้ข้อมูลที่นำมาแสดง มีความน่าสนใจขึ้น การค้นหาข้อมูลแบบ WWW จะมีการเชื่อมโยงข้อมูล ตามเส้นทาง ที่กำหนดไว้ เรียกว่า LINKS
การเข้าไปใช้งานใน อินเทอร์เน็ตแบบ WWW ทำให้เรามีความรู้สึก เสมือนได้เดินทางท่องเที่ยว ไปยังที่ต่าง ๆ เราเรียกดินแดนที่มองผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์เข้าไป ว่า "ไซเบอร์สเปซ" (Cyberspace)

1.เครือข่ายใยแมงมุม

เครือข่ายใยแมงมุม หรือ WWW (World Wide Web)
หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "เว็บ"

                เวิลด์ ไวด์ เว็บ เป็นบริการหนึ่งที่อยู่บนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพัฒนาของเครือข่าย
ใยแมงมุม ได้ดำเนินไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีด้านมัลติมีเดีย
ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความมหัศจรรย์ให้กับการศึกษาในโลกไร้พรมแดน และกลายเป็นแหล่งทรัพยากร
ของกระบวนการเรียนการสอนที่สนองต่อกระบวนการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดียิ่ง
                เมื่อไม่กี่ปีก่อนหน้านี้มีผู้สนใจใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่มากนัก เนื่องจากการใช้บริการ อินเทอร์เน็ต
ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาข่าวสารข้อมูล การรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การสำเนา แฟ้มข้อมูล ฯลฯ จะอยู่ในรูปแบบ
ของตัวอักษร (Text Mode)เท่านั้น ไม่มีการแสดงที่เป็นรูปภาพ เสียง ภาพยนตร์ และไม่มีอักษรแบบต่าง ๆ ปรากฎ
ให้เห็นแต่อย่างใด นอกจากนี้ผู้ใช้จะต้องเรียนรู้การใช้คำสั่งคอมพิวเตอร์มากมาย เช่น ต้องเรียนรู้คำสั่งเบื้องต้น
ของยูนิกซ์ (UNIX) เนื่องจากเมื่อจะมีการเรียกใช้งานอินเทอร์เน็ต เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ จะอยู่ภายใต้ระบบ
ปฏิบัติการยูนิกซ์ ดังนั้นผู้ใช้จึงต้องเรียนรู้คำสั่งเบื้องต้นของยูนิกซ์ เพื่อทำการป้อนคำสั่งที่เป็นตัวอักษรด้วยตัวเอง
                จนกระทั่งมีบริการที่เรียกว่า World Wide Web (WWW) หรือ เครือข่ายใยแมงมุมเกิดขึ้นทำให้
ความนิยมการใช้อินเทอร์เน็ตสูงขึ้น เนื่องจาก WWW เป็นบริการหนึ่งที่อยู่ในอินเทอร์เน็ต ที่ใช้งานได้ง่าย สะดวก
ผู้ใช้ไม่ต้องจำคำสั่งของยูนิกซ์อีกต่อไป การอ่านและค้นหาข้อมูลสามารถกระทำได้เพียงแต่กดปุ่มเมาส์เพียงอย่างเดียว
เท่านั้น
                การที่จะใช้บริการ WWW ได้นั้นจำเป็นจะต้อง มีส่วนประกอบ 2 ส่วน ดังนี้
                1. แหล่งข้อมูล หรือเว็บไซต์ (Web Site)
              2.
โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser)

แหล่งข้อมูล หรือ เว็บไซต์
           
คือระบบคอมพิวเตอร์ที่เป็นแหล่งเก็บเว็บเพจ ที่ผู้ใช้บริการสามารถเรียกดูเว็บเพจที่ เก็บอยู่ใน
เว็บไซต์นั้นได้ ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเว็บไซต์อาจจะใช้ระบบปฏิบัติ
  
                 เว็บเพจเป็นเอกสารแบบไฮเปอร์เท็ก (Hypertext document) เก็บอยู่ที่เว็บไซต์ต่าง ๆ
ในรูปของแฟ้ม ข้อมูลที่มักจะสร้างขึ้นด้
การ ยูนิกซ์ (UNIX) หรือ
วินโดวส์เอนที (Windows NT) ก็ได้ ผู้เป็นเจ้าขอเว็บไซต์จะจัดสร้างเว็บเพจ ของตนเก็บไว้ที่เว็บไซต์เพื่อให้
ผู้ใช้คนอื่นทั่วโลก สามารถเข้ามาดูเว็บเพจที่เก็บไว้ในเว็บไซต์นั้นได้ เช่นเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จะเก็บอยู่ที่เว็บไซต์
http://ww.swu.ac.th   เขียนด้วย
ภาษา HTML (Hypertext Markup Language)
โดยมีนามสกุลเป็น htm หรือ html
โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser)                    เป็นโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ใช้ ในการเข้าสู่ WWW และเปิดดูเว็บเพจ ผู้ใช้สามารถเรียกข้อมูลนั้น
ขึ้นมาแสดง ได้โดยใช้โปรแกรม ประเภท Web Browser เช่น Netscape หรือ Internet Explorer
เว็บเพจที่เป็นหน้าแรก ของเว็บเพจ นิยมเรียกกันว่า "โฮมเพจ" (Home Page)
                การเข้าถึงเว็บเพจใดๆ นั้นผู้ใช้จะต้องทราบตำแหน่งที่อยู่ของเพจนั้น ๆ บนเว็บเสียก่อน
ตำแหน่งที่อยู่ เหล่านี้ เรียกว่า URL (Uniform Resource Locators) ตัวอย่างของ URL ได้แก่
http://www.swu.ac.th        URL ที่เป็นโฮมเพจของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
http://www.tv5.co.th         URL ที่เป็นโฮมเพจของสถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง5
http://www.nectec.or.th     URL ที่เป็นโฮมเพจของ NECTEC
http://www.yahoo.com      URL ที่เป็นโฮมเพจของ Yahoo
http://www.srithai.com      URL ที่เป็นโฮมเพจของ  Srithai
http://www.geocities.com/TheTropics/Paradise/2703    URL โฮมเพจฟรีของ Geocities

2.หมายเลขประจำเครื่อง (IP Address)

IP Address : หมายเลขประจำเครื่อง
เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่ในระบบอินเตอร์เน็ต จะต้องมีหมายเลขประจำเครื่องที่ไม่ซ้ำกันเลย เรียกว่า IP Address หรือ Internet Address เพื่อใช้เป็นตัวชี้เฉพาะในระบบเมื่อมีการติดต่อสื่อสารภาษาสื่อสารจะใช้ภาษา TCP/IP จะให้หมายเลข IP Address ของเครื่องต้นทางและปลายทางนี้ในการกำกับข้อมูลที่ส่งผ่านไปในระบบเพื่อให้สามารถส่งผ่านไปยังที่หมายได้อย่างถูกต้อง ดังนั้นถ้าเปรียบเครื่องแต่ละเครื่องเป็นบ้านแต่ละหลัง IP Address ก็คือบ้านเลขที่ของบ้านแต่ละหลังนั่นเอง
IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วน ๆ ละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะขั้นด้วยเครื่องหมายจุด เช่น 208.48.176.11 เป็น IP Address ของเครื่องเครื่องหนึ่งนั่นเอง
ชื่อและหมายเลขประจำเครื่องในเครือข่าย  
          IP Address  คือ หมาย เลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้น             กำหนดให้ IP address (เป็นหมายเลข 3 หลัก 4 กลุ่ม) มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ระบบหมายเลขประจำเครื่องมีข้อบกพร่อง คือ จำยากและไม่ได้สื่อความหมายให้ผู้ใช้งานทั่วไปได้ทราบ ดังนั้น จึงมีการใช้ระบบชื่อของเครื่อง (Domain Name System : DNS) ซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนหมายเลข IP Address มาเป็นชื่อที่คนทั่วๆ ไปเข้าใจกัน   เช่น   Moe.go.th  /  udru.ac.th  /  microsoft.com
          Domain Name System : DNS  การเชื่อมต่อสื่อสารระหว่าง คอมพิวเตอร์ในระบบ internet นั้นใช้มาตรฐาน TCP/ IP ที่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นต้องมีหมายเลข IP Address ไม่ซ้ำกัน ซึ่งใช้ เวลาติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยจะอ้างถึงหมายเลขประจำตัวเครื่องปลายทางที่เราติดต่อได้ทันที โดยปกติเครื่อง Web Server จะมี IP Address ทั้งนี้เกิดปัญหาในการจำ เพราะว่า IP Address มีตัวเลขถึง 12 ตัว จากจุดนี้เลยได้มีการคิดที่จะแปลง IP Address ให้เป็นชื่อที่จำได้ง่าย Domain Name System จึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อใช้ชื่อแทนที่หมายเลข IP ฉะนั้น DNS คือระบบการแปลงค่าระหว่าง IP Address และชื่อเครื่อง(Host) เช่น IP Address "172.5.0.1" เรียกเป็น "http://fws.cc/linkout.php?http://www.udru.ac.th" (เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี)
          การกำหนดชื่อใน DNS จะเรียงลำดับความสำคัญจากขวาไปซ้าย โดยมีจุดคั่น เช่น Udru.ac.th จะอ่านได้ว่า th มาจากประเทศไทย, ac หน่วยงานการศึกษา, udru ชื่อหน่วยงานในที่นี้คือ มรภ.อุดรธานี
รูปแบบชื่อโดเมน มี 3 รูปแบบใหญ่ ๆ
          1. โดเมนขั้นสูงสุด - Top Level Domain ชื่อทางด้านขวาสุดแบ่งย่อยเป็น 2 รูปแบบ คือ        
            - รูปแบบโดเมนขั้นสูงสุดแบบสากล (General Internet DNS Top Level Domains : gTLDs) เป็นรูปแบบมาตรฐานที่ใช้กันโดยเฉพาะในอเมริกาซึ่งลงท้ายด้วย .com .net .org .biz .info เป็นต้น
           - รูปแบบโดเมนขั้นสูงสุดแต่ละประเทศ(Country Code top Level Domains : ccTLDs) บ่งบอกถึงประเทศเจ้าของโดเมนหรือที่ตั้งโดเมนมักใช้กับประเทศอื่นยกเว้นอเมริกา เช่น .th ประเทศไทย, .jp ประเทศญี่ปุ่น, .uk ประเทศอังกฤษ เป็นต้น
.au = Australia  .
sg = Singapore
.th = Thailand
.tw = Taiwan
.uk = United Kingdom
.jp = Japan
          2. โดเมนขั้นที่สอง - Second Level Domain เป็นชื่อถัดมาลำดับที่ 2 จะเป็นลักษณะการดำเนินงานขององค์กร แบ่งเป็น 2 ส่วน
          -     ลักษณะการดำเนินงานขององค์กรในประเทศไทย เช่น
.co = Commercial หน่วยงานทางธุรกิจ บริษัท ห้างร้าน
.ac = Academic หน่วยงานสถาบันทางการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย
.go = Government หน่วยงานของรัฐบาล เช่น กระทรวง ทบวง กรม
.or = Organization หน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร
.mi = Military หน่วยงานด้านความมั่นคง (ทหาร)
.net = Network หน่วยงานที่ให้บริการทางด้านเครือข่ายสื่อสาร
.in = Individual เว็บไซต์ส่วนบุคคล
          -      ลักษณะการดำเนินงานขององค์กร ยกเว้นประเทศไทย เช่น
.com = Commercial หน่วยงานทางธุรกิจ บริษัท ห้างร้าน
.edu = Education หน่วยงานสถาบันทางการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย
.gov = Government หน่วยงานของรัฐบาล เช่น กระทรวง ทบวง กรม
.org = Organization หน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร
.mil = Military หน่วยงานด้านความมั่นคง (ทหาร)
.net = Network หน่วยงานที่ให้บริการทางด้านเครือข่ายสื่อสาร
          3.  โดเมนขั้นที่สาม - Third Level Domain เป็นลำดับที่ 3 นับจากด้านขวามือ เป็นชื่อที่สื่อความหมายให้ผู้ใช้งานทั่วไปสามารถจดจำได้เช่น
udru = มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
Microsoft = บริษัทไมโครซอฟต์
moe = กระทรวงศึกษาธิการ

3.โดเมนเนม(domain name)

โดเมนเนม ความหมายโดยทั่วๆ ไป หมายถึง ชื่อเว็บไซต์ ชื่อบล็อก ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อให้จดจำและนำไปใช้งานได้ง่าย
ทั้งในการเข้าชมผ่านบราวเซอร์ของผู้ใช้ทั่วไป ยังรวมไปถึงผู้ดูแลระบบโดเมนเนมซีสเทม ที่สามารถแก้ไขไอพีแอดเดรสของชื่อโดเมนเนมนั้นๆ ได้ทันที
โดยที่ผู้ใช้ทั่วไปไม่จำเป็นต้องรับรู้หรือจดจำไอพีแอดเดรสที่มีการเปลี่ยนแปลง
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เผยแพร่เว็บไซต์ จะมีโดนเมนเนมเฉพาะไม่ซ้ำกับใคร

โดนเมนเนม มีด็อทอยู่หลายประเภทแต่ที่นิยมมากที่สุดนั้นก็คือ .com เพราะเป็นด็อทในยุคแรกๆ ที่เริ่มใช้กัน และง่ายต่อการจดจำ

ประเภทของ Domain Name แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
  1.  โดเมน 2 ระดับ   ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน
  2.  โดเมน 3 ระดับ   ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ


โดนเมนเนม 2 ระดับ
จะประกอบด้วย  www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน เช่น www.b2ccreation.com
ประเภทของโดเมน คือ คำย่อขององค์กร โดยประเภทขององค์กรที่พบบ่อย มีดังต่อไปนี้

    * .com คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์
    * .org คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร
    * .net คือ องค์กรที่เป็นเกตเวย์ หรือ จุดเชื่อมต่อเครือข่าย
    * .edu คือ สถาบันการศึกษา
    * .gov คือ องค์กรของรัฐบาล
    * .mil คือ องค์กรทางทหาร
  
โดนเมนเนม 3 ระดับ  
จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ เช่น www.kmitnb.ac.th, www.nectec.or.th, www.google.co.th

ประเภทขององค์กรที่พบบ่อยคือ

    * .co คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์
    * .ac คือ สถาบันการศึกษา
    * .go คือ องค์กรของรัฐบาล
    * .net คือ องค์กรที่ให้บริการเครือข่าย
    * .or คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร

ตัวย่อของประเทศที่ตั้งขององค์กร

    * .th   คือ ประเทศไทย
    * .cn  คือ ประเทศจีน
    * .uk  คือ ประเทศอังกฤษ
    * .jp   คือ ประเทศญี่ปุ่น
    * .au  คือ ประเทศออสเตรเลีย
  

โดนเมนเนม ถือเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกที่มองข้ามไม่ได้เลยสำหรับเว็บไซต์นั้นๆ โดยเฉพาะกับการโฆษณาบนอินเตอร์เน็ท ถ้าได้ชื่อที่เฉพาะเจาะจง ตรงกับกลุ่มเป้าหมายที่มีความสนใจเป็นพื้นฐานเดิมอยู่แล้วนั้น จะทำให้โดเมนเนม หรือ เว็บไซต์นั้นๆ จะได้รับความสนใจและเป็นที่จดจำได้ง่ายไม่ใช่กับผู้เข้าชมหรือ
กลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาชมเว็บไซต์ผ่านโดมเนมเท่านั้นยังรวมไปถึง Search Engine ชื่อดังต่างๆ เช่น Google Yahoo MSN เป็นต้น ที่จะเข้ามาแวะเวียนเข้ามาทำ index กับเว็บเพจหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์ของเรา

4.รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล

 โปรแกรมสืบค้นหาข้อมูล

            ในการสืบค้นข้อมูลนั้นจำเป็นจะต้องมีโปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาแฟ้มข้อมูล  ซึ่งมีอยู่หลายประเภท  ได้แก่           1.  โปรแกรมอาร์คี (Archie)  เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาแฟ้มข้อมูลที่เราทราบชื่อ  แต่ไม่ทราบตำแหน่ง ที่อยู่ของแฟ้มข้อมูล  ว่าอยู่ในเครื่องบริการใดๆ ในอินเตอร์เน็ต  โดยโปรแกรมอาร์คีนั้นจะสร้างบัตรรายการแฟ้มไว้ใน ฐานข้อมูล  ซึ่งหากเราต้องการค้นหาตำแหน่งของแฟ้มข้อมูลก็เปิดโปรแกรมอาร์คีนี้ขึ้นมาล้วให้พิมพ์ชื่อแฟ้มข้อมูล ที่ต้องการลงไป  โดยโปรแกรมอาร์คีจะตรวจค้นฐานข้อมูลให้ปรากฏชื่อแฟ้ม และ รายชื่อเครื่องบริการที่เก็บแฟ้มนั้นขึ้นมา ซึ่งหลังจากทราบชื่อเครื่องบริการแล้วเราก็จะสามารถใช้ FTP ถ่ายโอนเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ของเราไ้้ด้

         2.  โปรแกรมโกเฟอร์ (Gopher) เป็นโปรแกรมค้นหาข้อมูล  ซึ่งใช้บริการด้วยระบบเมนูโปรแกรมโกเฟอร์ เป็นโปรแกรม ที่มีรายการเลือก  เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้งานในการค้นหาข้อมูล
การใช้งาน โปรแกรมนี้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบ รายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ เชื่อมโยงอยู่กับอินเตอร์เน็ตใดๆ เลย  เราแค่เพียงเลือกรายการที่ต้องการในรายการเลือก และกดปุ่ม <Enter> ซึ่งเมื่อมีข้อมูลแสดงขึ้นมาแล้ว เราก็สามารถอ่านข้อมูลนั้น และบันทึกเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้


         3.  โปรแกรม Veronica เป็นโปรแกรมค้นหาข้อมูลที่ได้รับการพัฒนามาจากโปรแกรมโกเฟอร์  โดยการค้นหาข้อมูล  จะทำได้โดยไม่ต้องผ่านระบบเมนู  เพียงแค่พิมพ์คำสำคัญ  หรือ  ให้ระบบได้ทำการค้นหาข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ Keyword
         4.  โปรแกรมเวส (Wide Area Information Server-WAIS)  เป็นโปรแกรมที่เป็น
เครื่องมือในการสืบค้นข้อมูล โดยทำการค้นหาจากเนื้อหาของข้อมูล  ซึ่งการใช้งา้นต้องระบุ
ุชื่อเรื่อง  หรือชื่อของคำหลักที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของข้อมูล ที่ต้องการ  ซึ่งโปรแกรมเวสจะช่วยค้นหาไปยังแหล่งข้อมูลที่เชื่อมต่ออยู่ภายในอินเตอร์เน็ต

         5. โปรแกรม Search Engines เป็นโปรแกรมค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน  โดยให้พิมพ์คำ  หรือข้อความที่เป็น Keyword จากนั้นโปรแกรม Search
Engines จะแสดงรายชื่อของแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ี่เกี่ยวข้องขึ้นมาให้เราได้เลือกคลิกที่รายชื่อของแหล่งข้อมูลนั้น  เพื่อเลือกข้อมูลที่ต้องการได้  ซึ่งการจัดการแหล่งข้อมูลเหล่านั้นโปรแกรม Search Engines จะจัดไว้เป็นเมนู  โดยเริ่มจากข้อมูลในหมวดใหญ่ๆ ไปจนถึงข้อมูลในหมวดย่อยๆ   

5. การเชื่อมโยงข้อมูล (link)

การเชื่อมโยงข้อมูล (link)

จากการที่อินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางอยู่ทั่วโลกนั่น เป็นผลมาจากความสามารถในการเชื่อมโยงข้อมูล (link) จากข้อมูลหนึ่งไปยังอีกข้อมูลหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถเชื่อมโยงข้อความได้ทั้งจากภายในแฟ้มเอกสารข้อมูลของภายใน และแฟ้มเอกสารข้อมูลภายนอก
ข้อความที่ใช้เป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูลนั้น จะมีตัวอักษรเป็นสีน้ำเงิน (หรือสีอื่นตามแต่ที่ผู้สร้างกำหนดขึ้นมา) เมื่อเลื่อนเมาส์ไปชี้ที่ข้อความซึ่งมีการเชื่อมโยง รูปแบบของตัวชี้จะเปลี่ยนจาก สัญลักษณ์ลูกศรไปเป็นรูปมือแทน
ประเภทของการเชื่อมโยง ใน HTML แบ่งการเชื่อมโยงออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
  • การเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์
  • การเชื่อมโยงนอกเว็บไซต์
     
ตำแหน่งสำหรับคลิกเพื่อทำการเชื่อมโยงข้อมูล จะเรียกว่าจุดเชื่อมโยง หรือจุด Link ซึ่งใช้ได้ทั้งตัวอักษร ข้อความ หรือรูปภาพ
คำสั่งที่ใช้เชื่อมคือ <a href=" ชื่อไฟล์ หรือ URL" >ข้อความหรือรูปภาพที่จุด Link</a>
       Attribute ที่ใช้ร่วมกับการสร้าง Link ซึ่งจะต้องนำมาวางต่อจากคำสั่งสร้าง link และใช้คำสั่ง target= คุณสมบัติด้านล่าง เช่น
     <a href=" ชื่อไฟล์" target=_blank>ข้อความหรือรูปภาพที่จุด Link</a>

    _blank   = เปิดหน้าเอกสารใหม่โดยที่หน้าเดิมยังคงอยู่
    _self      = เปิดหน้าใหม่โดยที่หน้าเดิมเปลี่ยนไปบางส่วน หากว่าใช้กับ เฟรม
    _parent = เปิดหน้าใหม่โดยที่หน้าเดิมเปลี่ยนไป
    _top      = เปิด file ที่หน้าเดิมโดยจะไปด้านบนสุดของหน้าเว็บเพจ

บทที่ 4 การใช้งานโปรแกรมเว็บบราวเซอร์

การใช้งานโปรแกรมเว็บบราวเซอร์

การใช้งานเมนูในเว็บบราวเซอร์
เมนูคำสั่งต่างๆ ในโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ ประกอบไปด้วย

เมนูคำสั่ง File ประกอบไปด้วยคำสั่งต่างๆ ดังนี้
- New คือ เปิดหน้าต่างของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ใหม่
- Open คือ เปิดเว็บเพจ จาก URL หรือ จากไฟล์ภาษา HTML
- Save คือ บันทึกเว็บเพจ
- Save as คือ บันทึกเว็บเพจโดยตั้งชื่อใหม่
- Page Set Up คือ ตั้งค่าหน้ากระดาษก่อนพิมพ์
- Print คือ พิมพ์เว็บออกทางเครื่อง Printer
- Send คือ ส่งข้อมูลเว็บเพจไปทาง E – mail หรือ การเก็บไว้ใน Desktop
- Import and Export คือ นำเข้าและส่งออกข้อมูล
- Properties คือ เรียกดูคุณสมบัติของแฟ้มข้อมูล
- Work offline คือ สถานการณ์ทำงานของโปรแกรม
- Close คือ การปิดโปรแกรม

เมนูคำสั่ง Edit ประกอบไปด้วยคำสั่งต่างๆ ดังนี้
- Cut คือ ตัดข้อความหรือภาพในคลิปบอร์ด
- Copy คือ การคัดลอกข้อความหรือภาพในคลิปบอร์ด
- Paste คือ วางข้อความหรือรูปภาพที่เก็บไว้ในคลิปบอร์ด
- Select All คือ เลือกข้อความทั้งหมด
- Find คือ ค้นหาข้อความ

เมนูคำสั่ง View ประกอบไปด้วยคำสั่งต่างๆ ดังนี้

- Tool Bar คือ กำหนดคุณสมบัติต่างๆของแถบเครื่องมือ
- Status Bar คือ การซ่อน/แสดง แถบสถานะ
- Explorer Bar คือ ซ่อน/แสดง แถบสถานะ Explorer Bar
- Go To คือ เคลื่อนย้ายไปยังเว็บเพจหน้าอื่นๆ
- Stop คือ หยุดการโหลดข้อมูล
- Refresh คือ โหลดเว็บเพจอีกครั้ง
- Text Size คือ กำหนดขนาดของตัวอักษร
- Encoding คือ กำหนดรหัสภาษา
- Source คือ เรียกดูคำสั่งภาษา HTML
- Full Screen คือ ดูข้อมูลเว็บเพจแบบเต็มจอ

เมนูคำสั่ง Favorites ประกอบไปด้วยคำสั่งต่างๆ ดังนี้
- Add to Favorites คือ เพิ่มรายชื่อเว็บเพจที่กำลังเปิดอยู่ลงใน Favorites
- Organize Favorites คือ จัดการกับรายชื่อเว็บเพจใน Favorites
- Links คือ เก็บโฟลเดอร์ต่างๆที่เก็บรายชื่อเว็บเพจ

เมนูคำสั่ง Tools ประกอบไปด้วยคำสั่งต่างๆ ดังนี้
- Mail and News คือ ใช้งานโปรแกรม Outlook Express
- Synchronize คือ ปรับปรุงข้อมูลเว็บเพจที่เป็นปัจจุบัน
- Windows Update คือ เรียกเครื่องมือในการปรับปรุง Windows
- MSN Messenger Service คือ เรียกใช้งานโปรแกรม MSN Messenger Service
- Show Related Link คือ ซ่อน/แสดงการเชื่อมโยง
- Internet Options คือ ปรับคุณสมบัติการใช้งานของโปรแกรม

เมนูคำสั่ง Help ประกอบไปด้วยคำสั่งต่างๆ ดังนี้
- Contents and Index คือ เรียกใช้สารบัญและดัชนีการช่วยเหลือ
- Tip Of the Day คือ ข้อเสนอแนะประจำวัน
- For Netscape User คือ ข้อเสนอแนะสำหรับการใช้โปรแกรม Netscape
- Online Support คือ ติดต่อฝ่ายเทคนิคในการใช้โปรแกรม
- Send Feedback คือ ส่งข้อความแสดงความคิดเห็น
- About Internet Explorer คือ แสดงข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม

1.การใช้งานโปรแกรม Internet Explorer

Internet Explorer(IE)
สำหรับโปรแกรม Internet Explorer จะมีพร้อมกับระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows ซึ่งเมื่อได้ทำการติดตั้งระบบ Microsoft Windows เสร็จเรียบร้อยจะเห็นไอคอน (IE) บน Deskt
op
ส่วนประกอบของ IETitle : แสดงชื่อเว็บที่กำลังใช้งานอยู่ในขณะนั้น
Manu Bar : แสดงเมนูคำสั่งต่าง ๆ สำหรับควบคุมโปรแกรม เช่น การ Save , Copy File , Print File รวมถึงการปรับตั้งค่าต่าง ๆ
Toolbar : ประกอบไปด้วยปุ่มสำคัญต่าง ๆ โดยปุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ใช้แทนคำสั่งที่ใช้บ่อย ๆ ทำให้เราไม่จำเป็นที่จะต้องเข้าไปในเมนู เพียงแต่คลิกที่ปุ่มเหล่านั้นแทนและเราสามารถเพิ่มหรือลบปุ่มได้
Address : ส่วนนี้ให้กรอกชื่อ Address หรือ URL ของเว็บไซต์ที่เราต้องการจะติดต่อ เช่น http:\\
www.paktho.ac.th , http:\\trirong.paktho.ac.th
Status Bar : ส่วนนี้แสดงสถานะการทำงานได้แก่ URL ที่กำลังใช้งานอยู่หรือคำอธิบายการทำงาน เป็นต้น
  • หลักการใช้งาน Internet Explorer สำหรับท่องเน็ตเบื้องต้น
    เมนู ปุ่ม และคำสั่งในเบื้องต้น

    หน้าที่ของปุ่มต่าง ๆ

    ปุ่ม Back ใช้สำหรับย้อนกลับไปหน้าที่ผ่านมาแล้ว
    ปุ่ม Forward ใช้สำหรับเปลี่ยนไปหน้าต่อไป (หลังจากที่ย้อนกลับมา)
    ปุ่ม Stop ใช้สำหรับหยุดการโหลดข้อมูลในหน้าเว็บเพจนั้น
    ปุ่ม Refresh ใช้สำหรับการเรียกโหลดข้อมูลหน้าเว็บเพจใหม่อีกครั้ง
    ปุ่ม Home ใช้สำหรับกลับไปหน้าแรกที่ตั้งไว้
    ปุ่ม Search ใช้สำหรับค้นหาเว็บไซต์
    ปุ่ม Favorites ใช้สำหรับเลือกเว็บไซต์จาก Favorites หรือ Book Mark
    ปุ่ม History ใช้สำหรับการย้อนกลับไปดูเว็บไซต์ที่เคยเข้าไปดูมาแล้ว
    ปุ่ม Mail ใช้สำหรับการ รับ-ส่ง อีเมล์
    ปุ่ม Print ใช้สำหรับการพิมพ์หน้าเว็บออกเครื่องพิมพ์
      ปุ่ม Edit ใช้สำหรับการแก้ไขหน้าเว็บเพจนั้น ๆ
    การใช้งานโปรแกรมเบื้องต้น
    การไปยัง Web site ที่ต้องการ พิมพ์ชื่อ web site ลงไปในช่อง Address การบันทึกเอกสารที่ต้องการ
    เมื่อต้องการบันทึกเอกสารที่อ่านอยู่ สามารถทำได้โดยการไปที่ File > Save As จะปรากฏหน้าต่างให้เลือกว่าจะบันทึกแฟ้มข้อมูลไว้ที่ใดในเครื่องคอมพิวเตอร์
    การบันทึกรูปภาพที่ต้องการ
    เมื่อต้องการบันทึกรูปภาพ สามารถทำได้โดยการคลิกเมาส์ขวาที่รูปภาพ แล้วเลือก Save Picture As จะปรากฏหน้าต่างให้เลือกว่าจะบันทึกแฟ้มข้อมูลไว้ที่ใดในเครื่องคอมพิวเตอร์
    การทำ Favorites คือการเก็บ Web Site ที่สนใจไว้  ครั้งหน้าจะได้ไม่ต้องพิมพ์ชื่อสามารถกำหนด Web Site ที่สนใจเป็น favorites ของได้ โดยเมื่ออยู่ที่ Web Site นั้นๆ ให้เลือกที่ Favorites > Add to Favorites โปรแกรมจะทำการเพิ่มลงไปให้โดยอัตโนมัติ และคราวต่อไปสามารถเลือกที่ Favorites ได้โดยตรง
    1. การใช้งาน Favorites
       เมื่อต้องการไปที่ web site ที่ได้ทำ Favorites ไว้แล้ว สามารถทำได้โดยการกดที่ปุ่ม Favorites ซึ่งจะมีการแสดงรายชื่อ web site ปรากฏขึ้นให้เลือก
    2. การย้อนกลับ – ไปหน้าเอกสารถัดไป
      ทำได้โดยการกดปุ่ม Back เพื่อย้อนกลับไปยังเอกสารก่อนหน้า และสามารถกด Next เพื่อไปยังเอกสารหน้าต่อไปได้
    3. การให้แสดงเอกสารใหม่
      กดปุ่ม Refresh เพื่อให้ load เอกสารหน้านั้นใหม่อีกครั้ง
    4. หยุดการแสดงเอกสาร
      เมื่อต้องการหยุดการแสดงเอกสารในหน้าปัจจุบันที่กำลังทำการ load อยู่ ให้กดปุ่ม Stop โปรแกรมจะหยุดทำการ load เอกสารโดยทันที และจะแสดงข้อมูลบางส่วนของเอกสารเท่าที่ได้ load มาแล้วออกมา
    5. กลับไป Home
      กดปุ่ม Home เพื่อกลับไปแสดงเอกสารหน้าแรกสุด (Web site แรกทีเจอเมื่อเรียกโปรแกรมทำงาน)
    6. แสดงรายชื่อ web site ที่ได้ไปมา
      สามารถกดปุ่ม History เพื่อดูว่าได้มีการไปยัง web site ไหนมาแล้วบ้างได้ เมื่อมีการแสดงรายชื่อ web site ออกมา สามารถคลิกเพื่อให้โปรแกรมทำการ load เอกสารหน้านั้นๆมาใหม่ได้

2.การปรับแต่งโปรแกรม Internet Explorer

วิธีที่ 1: ล้างแคข้อมูลใน Internet Explorer

เมื่อต้องการตรวจสอบว่า ปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพหรือข้อผิดพลาด สาเหตุมาจากความเสียหาย ในแฟ้มชั่วคราวของอินเทอร์เน็ต หรือ ในที่อื่น ๆ แคช ข้อมูลที่ถูกใช้ โดย Internet Explorer คุณต้องล้างข้อมูลที่เก็บไว้ชั่วคราว เมื่อต้องการ ทำเช่นนี้ การทำตามขั้นตอนเหล่านี้:

Internet Explorer 7

  1. เปิด Internet Explorer 7
  2. คลิก เครื่องมือแล้ว คลิก ลบ ประวัติการเรียกดู.
  3. ใน ลบประวัติการเรียกดูคลิกลบทั้งหมด.
  4. คลิกเพื่อเลือก ลบแฟ้มและการตั้งค่า การจัดเก็บ โดยโปรแกรม add-on กล่องกาเครื่องหมาย จากนั้น คลิก ตกลง.
Internet Explorer 8
  1. เปิด Internet Explorer 8
  2. คลิก ความปลอดภัยแล้ว คลิก ลบประวัติการเรียกดู.
  3. ในลบประวัติการเรียกดู พื้นที่ คลิก ลบ.
แสดงแถบความคืบหน้าการเพื่อบ่งชี้ว่า การเรียกดู จะมีการล้างข้อมูลประวัติ หลังจากกระบวนการนี้เสร็จสมบูรณ์ ทดสอบทางอินเทอร์เน็ต Explorer เพื่อตรวจสอบว่า โปรแกรมทำได้อย่างถูกต้อง ถ้าปัญหายังคงเกิดขึ้น ให้ลองวิธีที่ 2

วิธีที่ 2: ตั้งค่าการรักษาความปลอดภัยสำหรับ Internet Explorer ใหม่

ถ้าคุณตั้งค่าคอนฟิกการตั้งค่าความปลอดภัยที่จะจำกัดเกินไป คุณอาจ ป้องกันไม่ให้ Internet Explorer แสดงเว็บไซต์บางเว็บไซต์ เมื่อต้องการตรวจสอบ ว่าปัญหาเกิดขึ้นจากการตั้งค่าความปลอดภัยที่จำกัด overly ย้อนกลับไป การตั้งค่าความปลอดภัยเริ่มต้น เมื่อต้องการทำเช่นนี้ ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้:
  1. เปิด Internet Explorer
  2. คลิก เครื่องมือแล้ว คลิกตัวเลือกอินเทอร์เน็ต.
  3. คลิก รักษาความปลอดภัย แท็บ
  4. คลิก การตั้งค่าใหม่เขตพื้นที่ทั้งหมดไปยังระดับเริ่มต้น, จากนั้น คลิก ตกลง.
หลังจากที่คุณทำเช่นนี้ ทดสอบ Internet Explorer เพื่อตรวจสอบว่า โปรแกรมทำได้อย่างถูกต้อง ถ้าปัญหายังคงเกิดขึ้น ลองวิธีที่ 3

หมายเหตุ ถ้าวิธีการนี้ไม่สามารถแก้ปัญหานี้ คุณสามารถคืนค่า Internet Explorer เพื่อให้ระดับการรักษาความปลอดภัยของก่อนหน้านี้

วิธีที่ 3: เรียกใช้ Internet Explorer ในโหมด "ไม่มี Add-on"

Add-on ของ Internet Explorer เช่นตัวควบคุม ActiveX และเบราว์เซอร์ ใช้แถบเครื่องมือ โดยบางเว็บไซต์เพื่อให้สามารถเรียกดูมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประสบการณ์การใช้งาน มีข้อผิดพลาดอาจเกิดขึ้น หาก add-on มีความเสียหาย หรือแอดออน ความขัดแย้งกับ Internet Explorer เมื่อต้องการตรวจสอบว่า ข้อผิดพลาดที่เกิดจาก add-on เรียกใช้ Internet Explorer ในโหมด "ไม่มี Add-on" เมื่อต้องการทำเช่นนี้ ให้ปฏิบัติตาม ขั้นตอนเหล่านี้:
  1. คลิก เริ่มการทำงานจากนั้น พิมพ์Internet Explorer ในการ เริ่มต้นค้นหากล่อง
  2. คลิก Internet Explorer (ไม่มี Add-on). เปิด Internet Explorer โดยไม่มี add-on แถบเครื่องมือ หรือปลั๊กอิน
  3. ทดสอบ Internet Explorer เพื่อตรวจสอบว่า โปรแกรมทำได้อย่างถูกต้อง ถ้าปัญหายังคงเกิดขึ้น ลองวิธีที่ 4
ถ้าไม่มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น ปัญหาเกิดจากรายใดรายหนึ่งของ add-on ซึ่งโดยทั่วไปจะโหลดพร้อมกับ Internet Explorer ในกรณีนี้ ใช้อย่างใดอย่างหนึ่ง ตัวเลือกต่อไปนี้

ตัวเลือกที่ 1: ตั้งค่า Internet Explorer

การตั้งค่า Internet Explorer เพื่อแสดงการตั้งค่าคอนฟิกค่าเริ่มต้น นอกจากนี้ขั้นตอนนี้จะปิดใช้งานใด ๆ โปรแกรม add-on ปลั๊กอิน หรือแถบเครื่องมือที่มีการติดตั้ง ถึงแม้ว่าการแก้ไขปัญหานี้ได้อย่างรวดเร็ว นั่นยังหมายถึง ว่า ถ้าคุณต้องการใช้อย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวโปรแกรม add-on ในอนาคต พวกเขาต้องต้องติดตั้งใหม่ เมื่อต้องการตั้งค่าการตั้งค่า Internet Explorer ใหม่ ใช้วิธีที่ 4

ตัวเลือกที่ 2: ใช้ตัวจัดการ Add-on เครื่องมือเพื่อดูว่า add-on ตัวใดเป็นสาเหตุของปัญหา

ใช้เครื่องมือ Manage Add-ons ใน Internet Explorer แต่ละ add-on เพื่อดูว่า add-on ตัวใดเป็นสาเหตุของข้อผิดพลาดที่ปิดใช้งานแต่ละรายการ เมื่อต้องการทำเช่นนี้ ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้:

Internet Explorer 7

  1. เปิด Internet Explorer 7
  2. คลิก เครื่องมือชี้ไปที่ จัดการ โปรแกรม add-onแล้ว คลิก เปิดหรือปิดใช้งาน Add-on.
  3. ในการ แสดง กล่อง การเลือก โปรแกรม add-on ที่ถูกใช้ โดย Internet Explorer เมื่อต้องการแสดง add-on ทั้งหมดที่ มีการติดตั้งบนคอมพิวเตอร์
  4. สำหรับแต่ละสินค้าในรายการนี้ ให้เลือก add-on จากนั้น คลิก ปิดการใช้งาน ภายใต้หัวข้อ การตั้งค่า.
  5. เมื่อคุณได้ปิดใช้งานรายการทั้งหมดในรายการนี้ คลิกตกลง.
  6. จบการทำงาน และเริ่มระบบของ Internet Explorer 7 ใหม่
  7. ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้น ทำซ้ำขั้นตอนที่ 1 ถึง 3
  8. คลิก เปิดการใช้งาน สำหรับเพียงอย่างเดียว add-on
  9. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 6 ถึง 8 จนกว่าคุณกำหนดว่า add-on ตัวใด ทำให้เกิดข้อผิดพลาดเกิดขึ้น
Internet Explorer 8
  1. เปิด Internet Explorer 8
  2. คลิก เครื่องมือแล้ว คลิก จัดการ Add-on.
  3. บนเครื่อง แสดง เมนูแบบหล่นลง เลือก Add-on ทั้งหมด เมื่อต้องการแสดง add-on ทั้งหมดที่ติดตั้งไว้บนคอมพิวเตอร์
  4. สำหรับแต่ละสินค้าในรายการนี้ เลือก add-on และคลิ กปิดการใช้งาน ในหน้าต่างรายละเอียด
  5. เมื่อคุณได้ปิดใช้งานรายการทั้งหมดในรายการนี้ คลิก ตกลง.
  6. จบการทำงาน และเริ่ม Internet Explorer ใหม่
  7. ถ้าปัญหาไม่เกิด ทำซ้ำขั้นตอนที่ 1 ถึง 3
  8. คลิกเปิดการใช้งาน สำหรับ add-on ตัวเดียว
  9. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 6 ถึง 8 จนกว่าคุณกำหนดว่า add-on ตัวใดเป็นสาเหตุของข้อผิดพลาดเกิดขึ้น
หลังจากที่คุณได้ใช้กระบวนการนี้เพื่อกำหนดว่า add-on ตัวใดเป็นสาเหตุของข้อผิดพลาด คุณสามารถปิดใช้งาน add-on นั้น หรือ คุณสามารถถอนการติดตั้งซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งโปรแกรม add-on เรายังแนะนำให้ คุณติดต่อผู้จำหน่ายซอฟต์แวร์ที่ให้ add-on สำหรับการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นและการสนับสนุนเพิ่มเติม

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรม add-on ของ Internet Explorer ให้ดู บทความต่อไปนี้ในวิธีใช้ของ Windows:

โปรแกรม add-on ของ Internet Explorer: คำถามที่ถามบ่อย (http://windowshelp.microsoft.com/Windows/en-US/Help/e85a03aa-c7c6-428e-9891-67ea76df9b7e1033.mspx)

วิธีที่ 4: การตั้งค่าการตั้งค่า Internet Explorer

เมื่อต้องการตรวจสอบว่า ปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพหรือข้อผิดพลาด สาเหตุมาจากการตั้งค่าการตั้งค่าคอนฟิก การตั้งค่า Internet Explorer เป็นค่าเริ่มต้น การกำหนดค่า ซึ่งไม่อยู่ในสถานะเมื่อมีการติดตั้ง Windows Vista ไว้ตั้งแต่ต้นว่า

เมื่อต้องการให้เราในการรีเซ็ตการตั้งค่า Internet Explorer ให้คุณ ไป "การตั้งค่า Internet Explorer ให้ฉัน"ส่วน เมื่อต้องการตั้งค่า Internet Explorer ใหม่ ด้วยตัวคุณเอง ไป "ให้ฉันตั้งค่าใหม่ของ Internet Explorer เอง"ส่วน

การตั้งค่า Internet Explorer ให้ฉัน

เมื่อต้องการตั้งค่าการตั้งค่าโดยอัตโนมัติ คลิก Internet Explorerการตั้งค่า Internet Explorer ใหม่ปุ่มหรือการเชื่อมโยง คลิกเรียกใช้ ในการ การดาวน์โหลดแฟ้ม โต้ตอบกล่อง และทำตามขั้นตอนในการแก้ไขอัตโนมัตินั้นตัวช่วยสร้าง